วิทยาศาสตร์ หมายถึง องค์ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ ที่ได้ผ่านการสังเกต ทดลอง ทดสอบ และวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์
ธรรมะ จึงเป็น ศาสตร์ ที่ชี้ให้ผู้ที่ศึกษา ได้รู้ถึงความเป็นจริ
ไตรลักษณ์ หรือ กฏธรรมชาติ คือ ลักษณะสามัญของสรรพสิ่งซึ่งมีลั
- อนิจจัง - กฏแห่งการเกิดขึ้น ความไม่เที่ยง
- ทุกขัง - กฏแห่งการเสื่อมไป เดินไปสู่การแตกสลาย ความไม่คงที่
- อนัตตา - กฏแห่งการเปลี่ยนไปเป็นอย่างอื่
นจากที่เป็นอยู่แล้ว ความไม่มีตัวตน ไม่เหลือตัวตนให้เห็น ความไม่เที่ยง แตกสลายดับไปได้
อันบัญญัติขึ้นเพื่อ ขันธ์ 5 หรือ สภาพ 5 ส่วนที่ประกอบกันจนเกิดเป็
- รูป คือ ส่วนที่เป็นสภาพ สสาร รูปร่าง วัตถุ
- เวทนา คือ ส่วนของความรู้สึกที่เกิดขึ้
นหลังการรับรู้ ความรู้สึก ทุกข์ สุข หรือ ไม่สุข - สัญญา คือ ส่วนที่จำได้ หมายรู้ในอารมณ์ 6 (นั่นคือ รูปะ – รูปหรือสิ่งที่เห็น, สัททะ – เสียง, คันธะ – กลิ่น, รสะ – รส, โผฎฐัพพะ – สิ่งที่ถูกต้องหรือสัมผัสกาย, ธรรม หรือ ธรรมารมณ์ – อารมณ์หรือความนึกคิดที่เกิดกั
บใจ) - สังขาร คือ ส่วนที่ปรุงแต่งจิต
- วิญญาณ คือ ส่วนที่มารับรู้อารมณ์ที่เกิ
ดจาก การกระทบทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ซึ่งถือเป็นระบบสมมุติ เรียกว่า สังขตธรรม คือ ธรรมที่ถูกปรุงแต่งได้ ประกอบด้วย
- อุปปาโท ปัญญายติ มีการเกิดปรากฏ
- วะโย ปัญญายติ มีการเสื่อมปรากฏ
- ฐิตัสสะ อัญญะฐัตตัง ปัญญายติ เมื่อตั้งอยู่ มีภาวะอย่างอื่นปรากฏ
ส่วนระบบวิมุตติ หรือ นิพพาน เรียกว่า อสังขตธรรม คือ ธรรมที่ถูกปรุงแต่งไม่ได้ ประกอบด้วย
- นะ อปุปาโท ปัญญายติ ไม่ปรากฏการเกิด
- นะ วะโย ปัญญายติ ไม่ปรากฏการเสื่อม
- นะ ฐิตัสสะ อัญญะฐัตตัง ปัญญายติ เมื่อตั้งอยู่ ไม่มีภาวะอย่างอื่นปรากฏ
ธรรมชาติและสรรพสิ่งมีการเกิ
มหาสติปัฏฐานสูตร คือ พระสูตรที่ว่าด้วยการเจริญสติ
- การตามดูรู้เท่าทันกายภายนอก (รูปร่าง สัญฐาน กาย) และกายภายใน (ลมหายใจ) ว่าตกอยู่ในกฏไตรลักษณ์
- การตามรู้เท่าทันเวทนา ว่าตกอยู่ในกฏไตรลักษณ์ ด้
วยใจที่เป็นกลาง วางเฉย - การตามดูรู้เท่าทันจิตในลั
กษณะต่าง ๆ จนเห็นตามกฏไตรลักษณ์ - การตามดูรู้เท่าทันธรรม สังเกตสภาวธรรมที่เกิดขึ้
นทางกาย เวทนา จิต ด้วยใจที่เป็นกลาง ว่ามันเกิดขึ้นอย่างไร มีสภาวะผันแปรอย่างไร ดำรงอยู่อย่างไร โดยไม่ไปวิพากษ์ วิจารณ์ ตัดสิน หรือคัดสรร จนเกิดความโล่งโปร่งทางจิต ปล่อยวางความยึดติดถือมั่นในกาย เวทนา จิต ธรรมได้อย่างสมบูรณ์
หากต้องการเข้าใจถึ
ปฏิจจสมุปบาท คือ ธรรมอันเป็นธรรมชาติ ว่าด้วยการเกิดขึ้นของสิ่งทั้
- อวิชชา คือ ความไม่รู้ในไตรลักษณ์ และ อริยสัจ 4 ทำให้ไปคลุกเคล้ากิเลศด้
วยความเขลา - สังขาร คือ การนึกคิดเพื่อปรุงแต่งกาย วาจา ใจ
- วิญญาณ คือ รู้จักจำแนกแยกแยะอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
- นามรูป คือ การปรากฏของนามธรรมและรูปธรรม กายและใจ
- สฬายตนะ คือ สภาวะที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สัมผัส หรือ เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์
- ผัสสะ คือ การรับรู้ปรากฏการณ์ด้วย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
- เวทนา คือ ความรู้สึก หรือ ทัศนคติภายหลังการรับรู้ อันได้แก่ สุขเวทนา ทุกขเวทนา และอทุกขมสุขเวทนา
- ตัณหา คือ ความทะยานอยาก ความปรารถนาใน กามตัณหา (หรือ ความอยากได้) ภพตัณหา (หรือ ความอยากเป็น) และ วิภวตัณหา (หรือ ความไม่เป็น)
- อุปาทาน คือ ความยึดติด ยึดมั่นถือมั่นในกาม ทิฏฐิ ลัทธิ พิธีการ วาทะ
- ภพ คือ การมีภาระหน้าที่ ภาวะทางใจ อันเป็นกระบวนการกำหนดพฤติ
กรรมให้สอดคล้องกับอุปทาน อันได้แก่ กามภพ รูปภพ และอรูปภพ - ชาติ คือ การเกิดเป็นตัวตน เกิดอัตตา รับภพไว้ในครอบครอง แบกน้ำหนั
กตามบทบาทในกระบวนการพฤติกรรมที ่กำหนดสมมุติไว้ - ชรา มรณะ คือ ความเสื่อม ความสูญสลาย ความแตกดับแห่งตัวตน อันเป็นสาเหตุแห่งทุกข์
ในเบื้องต้นเราได้กล่าวถึงไตรลั
- ทุกข์ สภาพปัญหาในขอบเขตของไตรลักษณ์
- สมุทัย เหตุแห่งทุกข์ อันได้แก่ ตัณหา
- นิโรธ สภาพการพ้นทุกข์ ละวางความยึดมั่นถือมั่น
- มรรค แนวทางการดับทุกข์
มรรควิธี หรือ แนวทางการดับทุกข์ มีความเหมาะสมในแต่ละคนไม่เหมื
มรรค 8 สามารถจัดหมวดหมู่ได้เป็น ไตรสิกขา ซึ่งประกอบด้วย
- ศีลสิกขา คือ การปฏิบัติรักษาศีล
- พูดชอบ
- กระทำชอบ
- ประกอบอาชีพชอบ
- สมาธิสิกขา คือ การพัฒนาคุณภาพจิตให้สว่าง สะอาด สงบเยือกเย็น ประกอบด้วย
- ความเพียรพยายามชอบ
- ตั้งสติระลึกชอบ
- ตั้งจิตชอบ
- ปัญญาสิกขา คือ รู้เข้าใจสรรสิ่งตามความเป็นจริ
ง ประกอบด้วย
- ความเห็นชอบ
- ดำริริเริ่มชอบ
บางครั้งการที่เราได้เข้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น